วิธีการชำระเงินผ่านทางธุรกิจ Online

นี่คือตัวอย่างวิธีการชำระเงินค่าสินค้า / บริการผ่านช่องทาง SCB Payment Gateway ของเพล์สบาย

1. ลูกค้าใส่ Email และ Passwordที่ใช้สมัครกับเพย์สบาย และเลือกช่องทางการชำระเงินของธนาคารSCB กด “Login”


2. ตรวจสอบข้อมูล และกด “Continue”



3. กรณีไม่มีบัญชีเพย์สบายให้กรอกข้อมูล

4. กรอก Username, Password และกด “SUBMIT”

5. ตรวจสอบข้อมูล และกด “SUBMIT”

6. ถ้าต้องการที่จะเติมเงินด้วยช่องทาง SCB Online Banking จริง และยอดเงินเท่านี้จริง ให้กด “PAY”

7. กด “SUBMIT” เพื่อยืนยันการทำรายการ

8. สิ้นสุดการทำรายการ



เเบบฝึกหัดท้ายบทที่5

1. Cross-platform application คืออะไรจงอธิบาย


1. กลุ่มคำสั่งที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจำ ROM ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างถาวร

2. โปรแกรมประยุกต์ซึ่งสามารถทำงานได้กับระบบปฏิบัติการหลายๆ ค่าย

3. วงจรหน่วยความจำแบบ Flash Rom ที่สามารถแก้ไขโปรแกรมได้

4. โปรแกรมส่วนหนึ่งซึ่งทำหน้าที่ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่



2. เสียงสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ตอบสนองออกมาสั้นบ้าง ยาวบ้างนั้น
เกิดจากกระบวนการในขั้นตอนใดและเหตุใดจึงต้องทำเช่นนั้น


1. ขั้นตอนที่1 Power Supply ส่งสัญญาณไฟฟ้าเพราะจะทำหน้าที่จ่ายพลังงานไฟฟ้า

ไปให้อุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์

2. ขั้นตอนที่ 2 Bios เริ่มทำงาน เพราะ CPU จะพยายามเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ใน Bios

เพื่อทำงานตามชุดคำสั่ง

3. ขั้นตอนที่ 3 กระบวนการ Post ทำการตรวจเช็คอุปกรณ์ เพราะ โปรแกรมส่วนหนึ่งใน Bios

ทำหน้าที่ ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่

4. ขั้นตอนที่ 4 นำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลใน CMOS เพราะ ผลลัพธ์จากกระบวนการ

POST นี้จะถูกนำมาตรวจสอบกับข้อมูลใน CMOS



3.จงบอกถึงความแตกต่างระหว่างส่วนประสานงานกับผู้ใช้แบบ command line และแบบ GUIอธิบายมาพอสังเขป


1. แบบ command line อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคำสั่งตัวหนังสือ แต่แบบ GUI

ต้องป้อนข้อมูลชุดคำสั่งที่ละบรรทัด

2. แบบ command line อนุญาตให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลกระทำการลงไปได้เฉพาะบริเวณ

แต่แบบ GUI อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคำสั่งตัวหนังสือ

3. แบบ command line ต้องป้อนข้อมูลชุดคำสั่งทีละบรรทัด แต่แบบ GUI

อนุญาตให้ป้อนข้อมูลกระทำการลงไปได้เฉพาะบริเวณนี้

4. แบบ command line อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคำสั่งที่เป็นตัวหนังสือ แต่แบบ GUI

เลือกรายการคำสั่งภาพที่ปรากฎบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์บางอย่าง



4. Spooling ที่เกิดขึ้นในการพิมพ์งาน มีหลักการอย่างไรบ้าง


1. ตัวฮาร์ดดิสจะทำหน้าที่พักข้อมูลทั้งหมดไว้ก่อน แล้วจึงจะส่งไปยังเครื่องพิมพ์ตามลำดับ

2. ตัวฮาร์ดดิสส่งการให้เครื่องพิมพ์ พิมพ์ผลลัพธ์ออกมาพร้อมกัน

3. ตัวฮาร์ดดิสมีหน้าที่สั่งการให้ข้อมูล พิมพ์ออกมาตามลำดับ

4. ตัวฮาร์ดดิสจะทำหน้าที่จัดลำดับของงานที่จะสั่งพิมพ์



5. Multi-processing คือการประมวลผลงานลักษณะใด
มีหลักการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบายพอสังเขป


1. ประมวลผลกลางมากกว่าหนึ่งตัว ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลายๆ คำสั่งงาน

ในเวลาเดียวกัน โดยระบบปฏิบัติการจะทำหน้าที่เป็นตัวประสานการทำงานของ CPU เหล่านั้นให้สอดคล้องกันเป็นอย่างดี

2. ประมวลผลกลางมากกว่าหนึ่งตัว ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้หลายๆ คำสั่งงาน

ในเวลาเดียวกัน การทำงานระหว่างหลาย CPU ย่อมมีเวลาส่วนหนึ่งที่ต้องเสียไปใน การประสานงาน

3. ประมวลผลกลางมากกว่าหนึ่งตัว ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้เพียงทีละคำสั่งเท่านั้น

โดยจะสลับการทำงานมาระหว่างโปรแกรมของแต่ละงาน

4. ประมวลผลกลางมากกว่าหนึ่งตัว หาก CPU ตัวใดตัวหนึ่งเสียไปในการประสานงาน

ก็ไม่สามารถประสานงานต่อไปได้





Database !!

ฐานข้อมูล (Database)
หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน นำมาเก็บรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบและ
ข้อมูลที่ประกอบ
กันเป็นฐานข้อมูลนั้น ต้องตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กรด้วย
เช่นกัน เช่น ในสำนักงานก็รวบรวมข้อมูล
ตั้งแต่หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่มาติดต่อจนถึงการ
เก็บเอกสารทุกอย่างของสำนักงาน ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะมีส่วนที่
สัมพันธ์กันและเป็นที่ต้องการ
นำออกมา
ใช้ประโยชน์ต่อไปภายหลัง ข้อมูลนั้นอาจจะเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของสถานที่
หรือเหตุการณ์ใด ๆ ก็ได้ที่เราสนใจศึกษาหรืออาจได้มาจากการสังเกต การนับหรือการวัด
ก็เป็นได้ รวมทั้งข้อมูลที่
เป็นตัวเลข ข้อความ และรูปภาพต่าง ๆ ก็สามารถนำมาจัดเก็บเป็น
ฐานข้อมูลได้ และที่สำคัญข้อมูลทุกอย่างต้องมี
ความสัมพันธ์กัน เพราะเราต้องการนำมา
ใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต

ตัวอย่าง

ชื่อฐานข้อมูล

กลุ่ม ข้อมูล

บริษัท

- พนักงาน

- ลูกค้า

- สินค้า

- ใบสั่งสินค้า

โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย

- นักเรียน

- อาจารย์

- วิชา

- การลงทะเบียน


ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง การรวมตัวกันของฐานข้อมูลตั้งแต่

2 ฐานข้อมูล เป็นต้นไปที่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความ

ซ้ำซ้อนของข้อมูล และทำให้การบำรุงรักษาตัวโปรแกรมง่ายมากขึ้นโดยผ่านระบบการ

จัดการฐานข้อมูล หรือ เรียกย่อ ๆ ว่า DBMS


องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูลเป็นเพียงวิธีคิดในการประมวลผล

รูปแบบหนึ่งเท่านั้นแต่การใช้ฐานข้อมูลจะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้

1.แอพลิเคชันฐานข้อมูล (Database Application) เป็นแอพพลิเคชันที่สร้างไว้ให้

ผู้ใช้งานสามารถติดต่อกับฐานข้อมูลได้อย่างสะดวก ซึ่งมีรูปแบบการติดต่อกับ

ฐานข้อมูลแบบเมนูหรือกราฟฟิก โยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลเลย

ก็สามารถเรียกใช้งานฐานข้อมูลได้เช่น บริการเงินสด ATM

2.ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS)

กลุ่มโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่บริหารฐานข้อมูลโดยตรง

ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดเป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกห้ผู้ใช้สามารถเข้าถึง

ข้อมูลได้โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับรู้เกี่ยวกับรายละเอียดภายในโครงสร้างฐานข้อมูล

พูดง่าย ๆ ก็คือ DBMS นี้เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ และโปรแกรมต่างๆ

ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ตัวอย่างของDBMSที่นิยมใช้ในปัจจุบัน

ได้แก่ Microsoft Access, FoxPro, SQL Server, Oracle,Informix, DB2 เป็นต้น

หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล มีดังนี้

1. กำหนดมาตรฐานข้อมูล

2. ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลแบบต่าง ๆ

3. ดูแล-จัดเก็บข้อมูลให้มีความถูกต้องแม่นยำ

4. จัดเรื่องการสำรอง และฟื้นสภาพแฟ้มข้อมูล

5. จัดระเบียบแฟ้มทางกายภาพ (Physical Organization)

6. รักษาความปลอดภัยของข้อมูลภายในฐานข้อมูล และป้องกันไม่ใช้ข้อมูลสูญหาย

7. บำรุงรักษาฐานข้อมูลให้เป็นอิสระจากโปรแกรมแอพพลิเคชันอื่น ๆ

8. เชื่อมโยงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน เพื่อรองรับความต้องการใช้ข้อมูล

ในระดับต่าง ๆ

3.ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) เป็นคอมพิวเตอร์ที่คอยให้บริการการจัดการฐาน
ข้อมูลซึ่งก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ระบบจัดการฐานข้อมูลทำงานอยู่นั่นเอง เพราะฉะนั้นควรเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความรวดเร็วในการทำงานสูงกว่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานโดยทั่วไป
4.ข้อมูล (Data) เนื้อหาของข้อมูลที่เราใช้งาน ซึ่งจะถูกเก็บในหน่วยความจำของดาต้าเบส
เซิร์ฟเวอร์โดยจะถูกเรียกมาใช้งานจากระบบจัดการฐานข้อมูล

5.ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator หรือ DBA) กลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่ดูแลข้อมูล
ผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่
กำหนดสิทธิการใช้งานข้อมูลกำหนดในเรื่องความปลอดภัยของการใช้งาน พร้อมทั้งดูแลดาต้าเบส
ทำงานอย่างปกติในปัจจุบันนี้ฐานข้อมูลมีเยอะแยะมากมายหลายประเภทมีให้เลือกแล้วแต่ความ
สะดวกในการใช้งาน ฐานข้อมูลที่นิยมส่วนใหญ่และเป็นที่รู้จักได้แก่ Microsoft Access
คือ โปรแกรมจัดการด้านฐานข้อมูลที่ ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลนั่นเอง
สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแล้วอาจจะจัดว่าเป็น โปรแกรมจัดการทางด้านฐานข้อมูล
ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และใช้งานง่ายที่สุดก็ว่าได้ โปรแกรมนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการ Computer Software ของโลก
รวมถึงมีฐานข้อมูล database ชนิดอื่นๆ ที่จะแนะนำอีก เช่น
คิว - เอสคิวแอล (SQL) คือ ภาษาสอบถามข้อมูล หรือภาษาจัดการข้อมูลอย่างมีโครงสร้าง มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมฐานข้อมูลที่รองรับมากมาย เพราะจัดการข้อมูลได้ง่าย
SQL มาจากคำว่า Structured Query Language ใช้ในการจัดการเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล SQL
มีคำสั่งที่ใช้ในการแยกข้อมูล การเรียงลำดับข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล การลบข้อมูล และการใส่
แทรกข้อมูล SQL สามารถใช้งานกับ ระบบจัดการฐานข้อมูลอื่นเช่น MySQL, mSQL, PostgresSQL, Oracle, Microsoft SQL Server, Access, Sybase .. เป็นต้น

- GIS ฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกำหนดข้อมูลเชิงบรรยาย (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูลโปรแกรมนี้กรมที่ดินใช้อยู่ ฐานข้อมูล CDS/ISIS หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วยหน่วยของสารนิเทศ ( Unit of Information ) ที่ได้รับการจัดกลุ่มให้อยู่รวมกันตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย สารนิเทศแต่ละหน่วยในฐานข้อมูล จะประกอบด้วยหน่วยข้อมูล (Data elements) ต่างๆ โดย แต่ละหน่วยข้อมูลแสดงถึงคุณสมบัติเฉพาะของข้อมูล และจัดเก็บในเขตข้อมูล (Field) โดยเขตข้อมูลทุกค่าจะมีหมายเลขประจำเขตข้อมูล (Field Tag ) เพื่อใช้ในการอ้างอิง กลุ่มของเขตข้อมูลประกอบกันเป็นระเบียน (Record) โปรแกรม CDS/ISIS มีลักษณะพิเศษ เฉพาะที่ต่างจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั่วไปอื่นๆ กล่าวคือได้รับการออกแบบให้สามารถ จัดเก็บค่าข้อมูลและระเบียนข้อมูลที่สามารถเปลี่ยนแปลงความยาวได้ (Variable Lenght) บางเขตข้อมูลอาจมีหรือไม่มีข้อมูลก็ได้ หรือบางเขตข้อมูลอาจมีข้อมูลมากกว่า 1 หน่วยก็ได้ เรียกกว่ามีเขตข้อมูลย่อย (Sub-Field) นอกจากนั้นในบางระเบียนอาจเกิดเขตข้อมูลเดียวกัน หลายครั้งก็ได้ เรียกว่ามีเขตข้อมูลซ้ำ ( Repeatable Field)

ที่มา:http://www.spvc.ac.th/webpage/mon/MonchaiWebpage/Subjects/DBMS32042014/dataBaseIntro.html